วันอังคารที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2552


การจัดการพ่อสุกร
พ่อสุกรที่จะนำมาใช้เป็นพ่อพันธุ์ ควรมีอายุ 8 เดือนขึ้นไป ให้อาหารโ
การจัดการพ่อสุกร
พ่อสุกรที่จะนำมาใช้เป็นพ่อพันธุ์ ควรมีอายุ 8 เดือนขึ้นไป ให้อาหารโปรตีน 16 % ให้กินอาหารวันละ 2 กิโลกรัม ขึ้นอยู่กับสภาพของพ่อสุกรด้วยว่าไม่อ้วนและผอมเกินไป
การจัดการแม่สุกร
ให้อาหารโปรตีน 16% ให้กินอาหารวันละ 2 กิโลกรัม แม่สุกรสาวควรมีอายุ 7-8 เดือน น้ำหนัก 100-120 กิโลกรัม จึงนำมาผสมพันธุ์ (เป็นสัดครั้งที่ 2-3) ผสมพันธุ์ 2 ครั้ง (เช้า-เช้า , เย็น-เย็น) เมื่อผสมพันธุ์แล้วควรลดอาหารให้เหลือ 1.5-2 กิโลกรัม เมื่อตั้งท้องได้ 90-108 วัน ควรเพิ่มอาหารเป็น 2-2.5 กิโลกรัม และเมื่อตั้งท้องได้ 108 วันคลอดลูก ให้ลดอาหารลงเหลือ 1-1.5 กิโลกรัม (ปกติสุกรจะตั้งท้องประมาณ 114 วัน) แม่สุกรควรอยู่ในสภาพปานกลาง คือ ไม่อ้วน หรือผอมเกินไป แม่สุกรจะให้ลูกดีที่สุดในครอกที่ 3-5 และควรคัดแม่สุกรออกในครอกที่ 7 หรือ8 (แม่สุกรให้ลูกเกินกว่าครอก ที่ 7 ขึ้นไป มักจะให้จำนวนลูกสุกรแรกคลอด มีชีวิต และจำนวนสุกรหย่านมลดลง)
การจัดการแม่สุกรก่อนคลอด ระวังอย่าให้แม่สุกรเจ็บป่วยหรือท้องผูก ควรจัดการ ดังนี้ แม่สุกรก่อนคลอด 7 วัน ให้อาบน้ำด้วยสบู่ทำความสะอาดแม่สุกร โดยเฉพาะราวนม บั้นท้าย อวัยวะเพศ แล้วพ่นอาบด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อโรค (ละลายน้ำ ตามอัตราส่วน) และพ่นยาพยาธิภายนอก แล้วนำเข้าคอกคลอด ก่อนแม่สุกรคลอด 4 วัน ควรลดอาหารลงเหลือ 1-1.5 กิโลกรัม/วัน ควรผสมรำละเอียดเพิ่มอีก 20 % ในอาหาร โดยให้แม่สุกรกิน 4-6 วันก่อนคลอด หรือผสมแม็กนีเซียมซัลเฟต (ดีเกลือ) ประมาณ 10 กรัม โดยคลุกอาหารให้ทั่วให้แม่สุกรกินวันละครั้ง 1-3 วันก่อนคลอด เพื่อป้องกันแม่สุกรท้องผูก ช่วยลดปัญหาแม่สุกรคลอดยาก ดูแลแม่สุกรอย่างใกล้ชิด อย่าให้แม่สุกรป่วย เช่น สังเกตรางอาหารว่าแม่สุกรกินอาหารหมดหรือไม่ ถ่ายอุจจาระเป็นเม็ดกระสุน ท้องเสีย หอบแรง เป็นต้น ถ้าแม่สุกรป่วยก็ควรรักษาตามอาการ คอกคลอด ก่อนนำแม่สุกรเข้าคอกคลอด คอกคลอดต้องสะอาด ราดหรือพ่นด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อโรค และโรยปูนขาว ต้องมีอาการพักคอกไว้อย่างน้อย 7 วัน ซึ่งจะเป็นการตัดวงจรของเชื้อโรค
การจัดการลูกสุกรเมื่อคลอด
แม่สุกรก่อนคลอด 24 ชั่วโมง จะมีน้ำนมไหลออกมาจากเต้านม ลูกสุกรแรกคลอดควรดูแลปฏิบัติ ดังนี้ ใช้ผ้าที่สะอาดหรือฟางเช็ดตัวลูกสุกรให้แห้ง ควักเอาน้ำเมือกในปากและในจมูกออก การตัดสายสะดือ ใช้ด้ายผูกสายสะดือให้ห่างจากพื้นท้องประมาณ 1-2 นิ้ว ตัดสายสะดือด้วยกรรไกร ทารอยแผลด้วยทิงเจอร์ไอโอดีนเพื่อฆ่าเชื้อโรค ตัดเขี้ยวออกให้หมด (เขี้ยวมี 8 ซี่ ข้างบน 4 ซี่ ข้างล่าง 4 ซี่ ) เพื่อป้องกันลูกสุกรกัดเต้านมแม่สุกรเป็นแผลในขณะแย่งดูดนม รีบนำลูกสุกรกินนมน้ำเหลืองจากเต้านมแม่สุกรในนมน้ำเหลืองจะมีสารอาหาร และภูมิคุ้มกันโรค ปกตินมน้ำเหลืองจะมีอยู่ประมาณ 36 ชั่วโมง หลังคลอด จากนั้นจะเปลี่ยนเป็นน้ำนมธรรมดา
การจัดการลูกสุกรแรกคลอด-หย่านม
ลูกสุกรในระยะ 15 วันแรก ต้องการความอบอุ่น ต้องจัดหา ลูกสุกรอายุ 1-3 วัน ให้ฉีดธาตุเหล็กเข้ากล้ามเนื้อตัวละ 2 ซี.ซี เพื่อป้องกันโรคโลหิตจาง ลูกสุกรอายุ 10 วัน เริ่มให้อาหารสุกรนมหรืออาหารสุกรอ่อน (อาหารเลียราง) เพื่อฝึกให้ลูกสุกรกินอาหาร โดยให้กินทีละน้อยแต่บ่อยครั้ง ลูกสุกรทั่วไปหย่านมเมื่ออายุ 28 วัน (4 สัปดาห์)
ไฟกกลูกสุกร
กล่องกระสอบ
การจัดการลูกสุกรเมื่อหย่านม
หย่านมลูกสุกรเมื่ออายุ 28 วัน น้ำหนักประมาณ 6 กิโลกรัม ควรย้ายแม่สุกรออกไปก่อนให้ลูกสุกรอยู่ในคอกเดิมสัก 3-5 วัน แล้วจึงย้ายลูกออกไปคอกอนุบาล เพื่อป้องกันลูกสุกรเครียด และควรใช้วิตามินหรือยาปฏิชีวนะละลายน้ำให้ลูกสุกรกินหลังจากหย่านมประมาณ 3-5 วัน ลูกสุกรอายุ 6 สัปดาห์ ให้ฉีดวัคซีนป้องกันโรคอหิวาต์สุกรและฉีดวัคซีนซ้ำทุก ๆ 6 เดือน ในสุกรพ่อแม่พันธุ์(วัคซีนมีความคุ้มโรคได้ประมาณ 6-12 เดือน) ลูกสุกรอายุ 7 สัปดาห์ ให้ฉีดวัคซีนป้องกันโรคปากและเท้าเปื่อย่ และฉีดวัคซีนซ้ำทุก ๆ 4-6 เดือน ในสุกรพ่อแม่พันธุ์ (วัคซีนมีความคุ้มโรคได้ประมาณ 4-6 เดือน) ลูกสุกรอายุ 2 เดือนครึ่ง ควรให้ยาถ่ายพยาธิ และให้ซ้ำหลักจากให้ครั้งแรก 21 วัน ในสุกรพ่อแม่พันธุ์ควรถ่ายพยาธิทุก ๆ 6 เดือน
การจัดการแม่สุกรหลังคลอด
ฉีดยาปฏิชีวนะ ให้แม่สุกรหลังคลอดทันทีติดต่อกันเป็นเวลา 1-2 วัน เพื่อป้องกันมดลูกอักเสบ (ยาเพนสเตร็ป, แอมพิซิลิน, เทอร์รามัยซิน เป็นต้น หลังคลอด 1-3 วัน ควรให้อาหารแม่สุกรน้อยลง(วันละ 1-2 กิโลกรัม) และเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนให้อาหารเต็มที่เมื่อหลังคลอด 14 วัน (ให้อาหารวันละ 4-6 กิโลกรัม) จนกระทั่งแม่สุกรหย่านม ระวังอย่าให้แม่สุกรผอมเมื่อหย่านม ซึ่งจะมีผลทำให้แม่สุกรไม่สมบูรณ์พันธุ์ และโทรมมาก แม่สุกรหลังหย่านมควรขังรวมกันคอกละประมาณ 2-5 ตัว (ขนาดใกล้เคียงกัน) เพื่อให้เกิดความเครียดจะเป็นสัดง่ายและจะเป็นสัดภายใน 3-10 วัน ถ้าแม่สุกรเป็นสัดทำให้การผสมพันธุ์ได้เลย
ปัญหาแม่สุกรไม่เป็นสัด สุกรสาวหรือเม่สุกรหลังจากหย่านมแล้วไม่เป็นสัด หรือเป็นสัดเงียบ จะพบเห็นได้บ่อย ๆ มีวิธีแก้ไข ดังนี้ 1. ต้อนแม่สุกรมาขังรวมกัน เพื่อให้เกิดความเครียด 2. เลี้ยงพ่อสุกรอยู่ใกล้ ๆ หรือให้พ่อสุกรเข้ามาสัมผัสแม่สุกรบ้าง .
การผสมพันธุ์เพื่อให้ได้ลูกดก
1. คัดเลือกสายแม่พันธุ์ เช่น ควรใช้แม่พันธุ์ เช่น ควรใช้แม่พันธุ์ลาร์จไวท์ แม่พันธุ์แลนด์เรซ หรือลูกผสมแลนด์เรซ-ลาร์จไวท์ 2. ผสมเมื่อแม่สุกรเป็นสัดเต็มที่ ซึ่งจะทำให้ไข่ตกมากจะอยู่ช่วงวันที่ 2-3 ของการะเป็นสัด ผสม 2 ครั้ง ห่างกัน 24 ชี่วโมง (เช้า-เช้า , เย็น-เย็น) 3. ถ้ามีพ่อสุกรหลายตัว และผลิตสุกรขุนเป็นการค้าควรใช้พ่อสุกร 4. แม่สุกรหลังจากหย่านมแล้ว 1 วัน ควรเพิ่มอาหารให้จนกระทั่งเป็นสัด โดยให้อาหารวันละ 3-4 กิโลกรัม (ไม่เกิน 15 วัน) เพื่อทำให้ไข่ตกมากขึ้น และเมื่อผสมพันธุ์แล้ว ให้ลดอาหารแม่สุกรลงเหลือวันละ 1.5-2 กิโลกรัม ตามปกติปรตีน 16 % ให้กินอาหารวันละ 2 กิโลกรัม ขึ้นอยู่กับสภาพของพ่อสุกรด้วยว่าไม่อ้วนและผอมเกินไป
การจัดการแม่สุกร
ให้อาหารโปรตีน 16% ให้กินอาหารวันละ 2 กิโลกรัม แม่สุกรสาวควรมีอายุ 7-8 เดือน น้ำหนัก 100-120 กิโลกรัม จึงนำมาผสมพันธุ์ (เป็นสัดครั้งที่ 2-3) ผสมพันธุ์ 2 ครั้ง (เช้า-เช้า , เย็น-เย็น) เมื่อผสมพันธุ์แล้วควรลดอาหารให้เหลือ 1.5-2 กิโลกรัม เมื่อตั้งท้องได้ 90-108 วัน ควรเพิ่มอาหารเป็น 2-2.5 กิโลกรัม และเมื่อตั้งท้องได้ 108 วันคลอดลูก ให้ลดอาหารลงเหลือ 1-1.5 กิโลกรัม (ปกติสุกรจะตั้งท้องประมาณ 114 วัน) แม่สุกรควรอยู่ในสภาพปานกลาง คือ ไม่อ้วน หรือผอมเกินไป แม่สุกรจะให้ลูกดีที่สุดในครอกที่ 3-5 และควรคัดแม่สุกรออกในครอกที่ 7 หรือ8 (แม่สุกรให้ลูกเกินกว่าครอก ที่ 7 ขึ้นไป มักจะให้จำนวนลูกสุกรแรกคลอด มีชีวิต และจำนวนสุกรหย่านมลดลง)
การจัดการแม่สุกรก่อนคลอด ระวังอย่าให้แม่สุกรเจ็บป่วยหรือท้องผูก ควรจัดการ ดังนี้ แม่สุกรก่อนคลอด 7 วัน ให้อาบน้ำด้วยสบู่ทำความสะอาดแม่สุกร โดยเฉพาะราวนม บั้นท้าย อวัยวะเพศ แล้วพ่นอาบด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อโรค (ละลายน้ำ ตามอัตราส่วน) และพ่นยาพยาธิภายนอก แล้วนำเข้าคอกคลอด ก่อนแม่สุกรคลอด 4 วัน ควรลดอาหารลงเหลือ 1-1.5 กิโลกรัม/วัน ควรผสมรำละเอียดเพิ่มอีก 20 % ในอาหาร โดยให้แม่สุกรกิน 4-6 วันก่อนคลอด หรือผสมแม็กนีเซียมซัลเฟต (ดีเกลือ) ประมาณ 10 กรัม โดยคลุกอาหารให้ทั่วให้แม่สุกรกินวันละครั้ง 1-3 วันก่อนคลอด เพื่อป้องกันแม่สุกรท้องผูก ช่วยลดปัญหาแม่สุกรคลอดยาก ดูแลแม่สุกรอย่างใกล้ชิด อย่าให้แม่สุกรป่วย เช่น สังเกตรางอาหารว่าแม่สุกรกินอาหารหมดหรือไม่ ถ่ายอุจจาระเป็นเม็ดกระสุน ท้องเสีย หอบแรง เป็นต้น ถ้าแม่สุกรป่วยก็ควรรักษาตามอาการ คอกคลอด ก่อนนำแม่สุกรเข้าคอกคลอด คอกคลอดต้องสะอาด ราดหรือพ่นด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อโรค และโรยปูนขาว ต้องมีอาการพักคอกไว้อย่างน้อย 7 วัน ซึ่งจะเป็นการตัดวงจรของเชื้อโรค
การจัดการลูกสุกรเมื่อคลอด
แม่สุกรก่อนคลอด 24 ชั่วโมง จะมีน้ำนมไหลออกมาจากเต้านม ลูกสุกรแรกคลอดควรดูแลปฏิบัติ ดังนี้ ใช้ผ้าที่สะอาดหรือฟางเช็ดตัวลูกสุกรให้แห้ง ควักเอาน้ำเมือกในปากและในจมูกออก การตัดสายสะดือ ใช้ด้ายผูกสายสะดือให้ห่างจากพื้นท้องประมาณ 1-2 นิ้ว ตัดสายสะดือด้วยกรรไกร ทารอยแผลด้วยทิงเจอร์ไอโอดีนเพื่อฆ่าเชื้อโรค ตัดเขี้ยวออกให้หมด (เขี้ยวมี 8 ซี่ ข้างบน 4 ซี่ ข้างล่าง 4 ซี่ ) เพื่อป้องกันลูกสุกรกัดเต้านมแม่สุกรเป็นแผลในขณะแย่งดูดนม รีบนำลูกสุกรกินนมน้ำเหลืองจากเต้านมแม่สุกรในนมน้ำเหลืองจะมีสารอาหาร และภูมิคุ้มกันโรค ปกตินมน้ำเหลืองจะมีอยู่ประมาณ 36 ชั่วโมง หลังคลอด จากนั้นจะเปลี่ยนเป็นน้ำนมธรรมดา
การจัดการลูกสุกรแรกคลอด-หย่านม
ลูกสุกรในระยะ 15 วันแรก ต้องการความอบอุ่น ต้องจัดหา ลูกสุกรอายุ 1-3 วัน ให้ฉีดธาตุเหล็กเข้ากล้ามเนื้อตัวละ 2 ซี.ซี เพื่อป้องกันโรคโลหิตจาง ลูกสุกรอายุ 10 วัน เริ่มให้อาหารสุกรนมหรืออาหารสุกรอ่อน (อาหารเลียราง) เพื่อฝึกให้ลูกสุกรกินอาหาร โดยให้กินทีละน้อยแต่บ่อยครั้ง ลูกสุกรทั่วไปหย่านมเมื่ออายุ 28 วัน (4 สัปดาห์)
ไฟกกลูกสุกร
กล่องกระสอบ
การจัดการลูกสุกรเมื่อหย่านม
หย่านมลูกสุกรเมื่ออายุ 28 วัน น้ำหนักประมาณ 6 กิโลกรัม ควรย้ายแม่สุกรออกไปก่อนให้ลูกสุกรอยู่ในคอกเดิมสัก 3-5 วัน แล้วจึงย้ายลูกออกไปคอกอนุบาล เพื่อป้องกันลูกสุกรเครียด และควรใช้วิตามินหรือยาปฏิชีวนะละลายน้ำให้ลูกสุกรกินหลังจากหย่านมประมาณ 3-5 วัน ลูกสุกรอายุ 6 สัปดาห์ ให้ฉีดวัคซีนป้องกันโรคอหิวาต์สุกรและฉีดวัคซีนซ้ำทุก ๆ 6 เดือน ในสุกรพ่อแม่พันธุ์(วัคซีนมีความคุ้มโรคได้ประมาณ 6-12 เดือน) ลูกสุกรอายุ 7 สัปดาห์ ให้ฉีดวัคซีนป้องกันโรคปากและเท้าเปื่อย่ และฉีดวัคซีนซ้ำทุก ๆ 4-6 เดือน ในสุกรพ่อแม่พันธุ์ (วัคซีนมีความคุ้มโรคได้ประมาณ 4-6 เดือน) ลูกสุกรอายุ 2 เดือนครึ่ง ควรให้ยาถ่ายพยาธิ และให้ซ้ำหลักจากให้ครั้งแรก 21 วัน ในสุกรพ่อแม่พันธุ์ควรถ่ายพยาธิทุก ๆ 6 เดือน
การจัดการแม่สุกรหลังคลอด
ฉีดยาปฏิชีวนะ ให้แม่สุกรหลังคลอดทันทีติดต่อกันเป็นเวลา 1-2 วัน เพื่อป้องกันมดลูกอักเสบ (ยาเพนสเตร็ป, แอมพิซิลิน, เทอร์รามัยซิน เป็นต้น หลังคลอด 1-3 วัน ควรให้อาหารแม่สุกรน้อยลง(วันละ 1-2 กิโลกรัม) และเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนให้อาหารเต็มที่เมื่อหลังคลอด 14 วัน (ให้อาหารวันละ 4-6 กิโลกรัม) จนกระทั่งแม่สุกรหย่านม ระวังอย่าให้แม่สุกรผอมเมื่อหย่านม ซึ่งจะมีผลทำให้แม่สุกรไม่สมบูรณ์พันธุ์ และโทรมมาก แม่สุกรหลังหย่านมควรขังรวมกันคอกละประมาณ 2-5 ตัว (ขนาดใกล้เคียงกัน) เพื่อให้เกิดความเครียดจะเป็นสัดง่ายและจะเป็นสัดภายใน 3-10 วัน ถ้าแม่สุกรเป็นสัดทำให้การผสมพันธุ์ได้เลย
ปัญหาแม่สุกรไม่เป็นสัด สุกรสาวหรือเม่สุกรหลังจากหย่านมแล้วไม่เป็นสัด หรือเป็นสัดเงียบ จะพบเห็นได้บ่อย ๆ มีวิธีแก้ไข ดังนี้ 1. ต้อนแม่สุกรมาขังรวมกัน เพื่อให้เกิดความเครียด 2. เลี้ยงพ่อสุกรอยู่ใกล้ ๆ หรือให้พ่อสุกรเข้ามาสัมผัสแม่สุกรบ้าง .
การผสมพันธุ์เพื่อให้ได้ลูกดก
1. คัดเลือกสายแม่พันธุ์ เช่น ควรใช้แม่พันธุ์ เช่น ควรใช้แม่พันธุ์ลาร์จไวท์ แม่พันธุ์แลนด์เรซ หรือลูกผสมแลนด์เรซ-ลาร์จไวท์ 2. ผสมเมื่อแม่สุกรเป็นสัดเต็มที่ ซึ่งจะทำให้ไข่ตกมากจะอยู่ช่วงวันที่ 2-3 ของการะเป็นสัด ผสม 2 ครั้ง ห่างกัน 24 ชี่วโมง (เช้า-เช้า , เย็น-เย็น) 3. ถ้ามีพ่อสุกรหลายตัว และผลิตสุกรขุนเป็นการค้าควรใช้พ่อสุกร 4. แม่สุกรหลังจากหย่านมแล้ว 1 วัน ควรเพิ่มอาหารให้จนกระทั่งเป็นสัด โดยให้อาหารวันละ 3-4 กิโลกรัม (ไม่เกิน 15 วัน) เพื่อทำให้ไข่ตกมากขึ้น และเมื่อผสมพันธุ์แล้ว ให้ลดอาหารแม่สุกรลงเหลือวันละ 1.5-2 กิโลกรัม ตามปกติ

วิธีการเลี้ยงนกกรงหัวจุก
เริ่มตั้งแต่เช้าตรู่ เมื่อเราตื่นนอนตอนเช้า อากาศสดชื่น เย็นสบาย นกก็สดชื่น เราทำการเปลี่ยนอาหารใหม่ ตามปกติจะประกอบด้วย กล้วยครึ่งผล มะละกอสุก 1 ชิ้น หรือแตงกวา 1 ซีก (สำหรับแตงกวาอาจมีความเสี่ยงอยู่บ้าง เพราะปัจจุบันมีการใช้สารเคมีฝังใต้ดิน เพื่อกำจัดหนอนแมลงกันมาก ยาก็จะดูดซึมเข้าไปอยู่ในผลแตงกวาด้วย เมื่อนกกินเข้าไป อาจทำให้นกตายได้ เรื่องนี้ ผู้เขียนเคยประสบมาแล้ว) หลังจากนั้นเอากรงนกไปแขวนในที่ที่เตรียมเอาไว้ อาจจะเป็นชายคาบ้านหรือกิ่งไม้ที่แข็งแรงพอ นกก็จะเริ่มส่งเสียงร้องออกมา ถ้าเป็นนกที่กำลังคึกคักก็จะร้องตลอดเวลา ไม่หยุด พร้อมทั้งออกลีลาเต็มที่ ต่อจากนั้นเมื่อถึงเวลาที่ผู้เลี้ยงต้องออกไปทำงาน ก็ให้เก็บนกไว้ในบ้านในที่ที่ปลอดภัยที่สุด (จากงูเขียว หนู ขโมย) ต้องเป็นที่ที่มีแสงสว่างพอสมควร อย่าให้มืดเกินไป สำหรับผู้ที่ประกอบธุรกิจส่วนตัวอยู่กับบ้าน มีเวลาเลี้ยงนกมาก ก็ให้จัดเตรียมสนามซ้อมหรือราวเอาไว้เพื่อให้นกได้ตากแดด เป็นการเสริมวิตามินดีจากธรรมชาติ และสร้างความสดชื่นให้กับนก วิธีการตากแดดมีอยู่ 2 รูปแบบ คือ 1. นกที่ยังไม่พร้อมจะเข้าแข่งขัน หมายถึง นกใหม่ที่เราที่เพิ่งได้มา ยังไม่คึกคักเท่าที่ควรหรือนกวัยรุ่นที่ยังไม่มีความพร้อม ให้ตากแดดปกติ ไม่ต้อมโหมหนักมากเกินไป เพราะธรรมชาติของนก เมื่อเจอแดดร้อนก็จะเข้าไปแอบในร่มไม้เพื่อพักผ่อน นกกลุ่มนี้ให้ตากแดดช่วงเช้าตรู่ จนถึงประมาณ 09:00 - 10:00 ก็พอเพียง เก็บเข้าที่ร่มให้ห่างกันพอสมควร เพราะนกบางตัวอาจเกิดอาการกลัวนกตัวอื่น จึงไม่กล้าร้อง 2. นกที่พร้อมจะเข้าแข่งขันหรือแข่งอยู่แล้ว นกกลุ่มนี้ต้องการความพร้อมสูงในการเตรียมตัวเข้าแข่งขัน โดยเฉพาะต้องตากแดด เพื่อให้นกแข็งแรง ทดแดดทนร้อนได้ ปกติจะเริ่มตากประมาณ 09:00 - 13:00 โดยตากไว้ตลอด ไม่มีการยกเข้าพักในที่ร่ม ให้นกได้กระโดดและร้องไปเรื่อยๆ จนกว่าจะถึงเวลาเก็บ สถานที่ตากแดดก็เหมือนกัน คือ ต้องแข็งแรง ปลอดภัย และแต่ละตัวแขวนให้ห่างกันพอสมควร อย่าให้ใกล้กันเหมือนตอนแข่งหรือตอนซ้อม เพราะนกจะต่อสู้กันทุกวันจนเบื่อ หลังจากผ่านการตากแดดมาแล้ว เก็บเข้าที่ร่ม ไม่มืดทึบ มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก นกก็จะได้พักผ่อนส่วนตัว ไม่ต้องร้อง บางตัวก็จะร้องเล่นๆ เบาๆ เพื่อผ่อนคลายอิริยาบถจนถึงเวลาประมาณ 15:00 - 16:00 ก็ยกนกออกไปแขวนข้างนอก แล้วทำความสะอาดกรงนก โดยการเริ่มล้างถ้วยน้ำ ถ้วยอาหารให้สะอาด จากนั้นจัดการล้างซี่กรงด้านล่าง (ท้องกรง) โดยใช้น้ำฉีดให้ทั่ว ใช้ฟองน้ำหรือแปรงสีฟันขัดให้สะอาด และล้างถาดรองขี้นกให้สะอาดเช่นกัน แล้วหงายขันอาบน้ำ เติมน้ำให้เต็ม นำกรงนกขึ้นแขวนในที่ร่ม นกก็จะลงอาบน้ำเองอย่างสนุกสนาน เปียกทั่วตัว (กรณีที่นกบางตัวไม่ยอมอาบน้ำ ให้ใช้กระบอกฉีดน้ำปรับให้เป็นฝอย ฉีดให้ทั่วตัวบ่อยๆ นกก็จะลงอาบน้ำเอง) เมื่อนกอาบน้ำเสร็จและเริ่มแต่งตัว (โดยการใช้ปากไซ้ขนทั่วตัวเพื่อทำความสะอาดและให้ขนแห้ง) เราก็คว่ำขัน และยกกรงนกไปตากแดดอ่อนๆ เพื่อ - ทำให้ขนนกแห้ง เป็นการสร้างความสวยงามให้นก เพราะขนนกจะฟูสวยงาม และนกจะไม่คันในขณะทำการแข่งขัน - ทำให้กรงนกแห้ง เป็นการยืดอายุการใช้งานของกรงนกออกไปอีก เพราะเมื่อกรงเปียก ไม้ก็จะพอง ข้อต่อต่างๆ ก็จะหลวมและเผยอออก ซี่กรงก็อาจขึ้นราได้
นกอาบน้ำอย่างมีความสุข
วิธีการเลี้ยงนกกรงหัวจุกที่อายุมาก (มากกว่า 10 ปีขึ้นไป) ต้องใช้วิธีการที่พิเศษออกไปกว่าการเลี้ยงนกหนุ่มทั่วๆ ไป คือ ต้องทำกรงพักขนาดใหญ่พอสมควร กว้าง 1 เมตร ยาว 2 เมตร สูง 1.50 เมตร โดยใช้ลวดตาข่ายล้อมเป็นกรงสี่เหลี่ยมหรือทรงกลมก็ได้ วางลงให้ติดกับพื้นดิน มีกิ่งไม้แห้งให้เกาะได้สะดวก ถ้วยน้ำ ถ้วยอาหาร ถ้วยน้ำอาบ พร้อมตลอดเวลา มีหลังคากันฝนเล็กน้อย จากนั้นก็ปล่อยนกที่อายุมากเข้าไป ให้นกได้บินมาอย่างสบาย นกก็จะสดชื่น แข็งแรงขึ้น เมื่อนกสมบูรณ์พร้อมทั้งกาย - ใจ เราก็สามารถเอานกตัวนั้นไปเข้าแข่งขันได้อีกครั้งหนึ่ง วิธีการเลี้ยงนกที่อ้วนเกินไป ปกตินกกรงหัวจุกธรรมชาติจะมีรูปร่างปราดเปรียว คล่องแคล่ว เมื่อนำมาเลี้ยงในกรง ผู้เลี้ยงให้กินอาหารอย่างเต็มที่ เพื่อให้นกสมบูรณ์ แข็งแรง และมักจะให้กินอาหารสำเร็จรูปชนิดเม็ดด้วย นกก็จะกินจนอิ่ม แต่ได้ออกกำลังกายน้อยมาก เพราะต้องอยู่ในกรงแคบๆ ทำให้นกอ้วน ขี้เกียจกระโดด ขี้เกียจร้อง ไม่ประสบผลสำเร็จในการแข่งขัน เพราะนกอ้วนเกินไป เราจึงต้องทำการลดความอ้วนโดย - ให้กินกล้วยน้ำว้าน้อยลง - งดอาหารสำเร็จรูปชนิดเม็ดและผงเด็ดขาด - ให้กินมะละกอ ลูกตำลึงสุก หรือแตงกวาผ่าซีกทุกวัน เพื่อให้นกถ่ายได้สะดวก - ตากแดดนกทุกวัน โดยค่อยๆ เพิ่มระยะเวลาการตากให้นานขึ้นเรื่อยๆ ใช้วิธีการนี้ไปเรื่อยๆ จนกว่านกจะผอมลงและเข้าสู่สภาพปกติ นกก็จะคึกคักและมีลีลากระโดดโลดเต้นสวยงามเหมือนเดิม
geovisit();

การเลี้ยงวัวเนื้อ





การเลี้ยงวัวเนื้อ เป็นอาชีพที่น่าสนใจอาชีพหนึ่ง เพราะเนื้อวัวที่ได้รับความนิยมในการนำมาประกอบอาหารบริโภคกันโดยทั่วไป และการเลี้ยงวัวเนื้อในปัจจุบันมีอยู่ด้วยกันหลายพันธุ์ วัวเนื้อพันธุ์บราห์มันเป็นวัวที่นิยมเลี้ยง มีขนาดใหญ่ ลำตัวสีดำคล้ำหรือสีเทา มีรูปร่างล่ำสัน กล้ามเนื้อมาก ลำตัวยาว มีโหนกสูงขนาดใหญ่ หลังยาวและแอ่น มีเหนียงย้อยใต้คาง หน้าผากกว้างยาว เขาชันขึ้นบนและงุ้ม ใบหูยาว เป็นวัวที่มีความอดทนต่อความร้อนและโรคได้ดี และเจริญเติบโตง่าย ส่วนวัวเนื้อสายพันธุ์ใหม่ที่กำลังได้รับความสนใจ คือ วัวพันธุ์กำแพงแสน ลูกผสมที่ได้จะมีความอดทนต่อสภาพอากาศและให้คุณภาพเนื้อได้ไม่แพ้พันธุ์บราห์มัน ให้ผลกำไรสูงและเหมาะกับการเลี้ยงในเขตร้อนอย่างบ้านเรา
การเลี้ยงวัวเนื้อ เราสามารถเลี้ยงวัวเนื้อในโรงเรือนหรือปล่อยให้วัวหากินอย่างอิสระตามทุ่งหญ้าก็ได้ โรงเรือนควรอยู่บริเวณที่เป็นเนิน น้ำท่วมไม่ถึง มีความโปร่ง ควรเป็นพื้นปูนเพื่อง่ายในการทำความสะอาด แบ่งพื้นที่เลี้ยงวัวเนื้อเป็นคอก คอกละ 1 ตัว ทำรางหญ้า รางอาหาร และรางน้ำแยกไว้แต่ละคอก การให้อาหาร ควรให้เป็นเวลา ใช้หญ้าหรือฟาง และให้กินอาหารเสริมพวกกระถิน มันสำปะหลังแห้งผสมเกลือแดง รำหญ้าขน นอกจากนี้ควรมีก้อนหินเกลือแร่ไว้ให้วัวเลีย จะทำให้วัวไม่ขาดสารอาหาร รางน้ำควรมีน้ำเพียงพอ เพราะถ้าวัวขาดน้ำจะทำให้วัวตายได้ง่าย สร้างบ่อบำบัด เวลาที่มูลวัวหรือสิ่งปฏิกูลต่าง ๆ ตกลงไปในบ่อบำบัด จะทำให้ตกตะกอนแล้วนำมาทำเป็นปุ๋ยจุลินทรีย์ได้การจัดจำหน่าย การเลี้ยงวัวเนื้อเป็นอาชีพที่ทำรายได้ให้แน่นอน เพราะตลาดมีความต้องการสูงโดยเฉพาะวัวลูกผสมพันธุ์บราห์มันหรือพันธุ์กำแพงแสน เป็นวัวที่มีกล้ามเนื้อมาก เนื้อแน่น เวลาขายจะได้ราคาดี ส่วนมูลวัวที่ตากแห้งขายเป็นอาหารปลา หรือมูลวัวที่ตกตะกอนในบ่อบำบัด ทำเป็นปุ๋ยเพื่อขายเสริมรายได้ให้แก่เกษตรกรผู้เลี้ยงอีกทางหนึ่งเคล็ดลับ การเลี้ยงวัวเนื้อขายให้ได้ราคา ต้องให้อาหาร ได้แก่ หญ้า หินเกลือแร่ และน้ำอย่างเพียงพอกับความต้องการของวัว ควรเลี้ยงวัวที่มีความอดทนต่อสภาพอากาศร้อน ของบ้านเราหรือเลือกพันธุ์ที่ให้กล้ามเนื้อมาก เมื่อขายจะได้ผลตอบแทนสูง

วิธีการเลี้ยงนกกรงหัวจุก
เริ่มตั้งแต่เช้าตรู่ เมื่อเราตื่นนอนตอนเช้า อากาศสดชื่น เย็นสบาย นกก็สดชื่น เราทำการเปลี่ยนอาหารใหม่ ตามปกติจะประกอบด้วย กล้วยครึ่งผล มะละกอสุก 1 ชิ้น หรือแตงกวา 1 ซีก (สำหรับแตงกวาอาจมีความเสี่ยงอยู่บ้าง เพราะปัจจุบันมีการใช้สารเคมีฝังใต้ดิน เพื่อกำจัดหนอนแมลงกันมาก ยาก็จะดูดซึมเข้าไปอยู่ในผลแตงกวาด้วย เมื่อนกกินเข้าไป อาจทำให้นกตายได้ เรื่องนี้ ผู้เขียนเคยประสบมาแล้ว) หลังจากนั้นเอากรงนกไปแขวนในที่ที่เตรียมเอาไว้ อาจจะเป็นชายคาบ้านหรือกิ่งไม้ที่แข็งแรงพอ นกก็จะเริ่มส่งเสียงร้องออกมา ถ้าเป็นนกที่กำลังคึกคักก็จะร้องตลอดเวลา ไม่หยุด พร้อมทั้งออกลีลาเต็มที่ ต่อจากนั้นเมื่อถึงเวลาที่ผู้เลี้ยงต้องออกไปทำงาน ก็ให้เก็บนกไว้ในบ้านในที่ที่ปลอดภัยที่สุด (จากงูเขียว หนู ขโมย) ต้องเป็นที่ที่มีแสงสว่างพอสมควร อย่าให้มืดเกินไป สำหรับผู้ที่ประกอบธุรกิจส่วนตัวอยู่กับบ้าน มีเวลาเลี้ยงนกมาก ก็ให้จัดเตรียมสนามซ้อมหรือราวเอาไว้เพื่อให้นกได้ตากแดด เป็นการเสริมวิตามินดีจากธรรมชาติ และสร้างความสดชื่นให้กับนก วิธีการตากแดดมีอยู่ 2 รูปแบบ คือ 1. นกที่ยังไม่พร้อมจะเข้าแข่งขัน หมายถึง นกใหม่ที่เราที่เพิ่งได้มา ยังไม่คึกคักเท่าที่ควรหรือนกวัยรุ่นที่ยังไม่มีความพร้อม ให้ตากแดดปกติ ไม่ต้อมโหมหนักมากเกินไป เพราะธรรมชาติของนก เมื่อเจอแดดร้อนก็จะเข้าไปแอบในร่มไม้เพื่อพักผ่อน นกกลุ่มนี้ให้ตากแดดช่วงเช้าตรู่ จนถึงประมาณ 09:00 - 10:00 ก็พอเพียง เก็บเข้าที่ร่มให้ห่างกันพอสมควร เพราะนกบางตัวอาจเกิดอาการกลัวนกตัวอื่น จึงไม่กล้าร้อง 2. นกที่พร้อมจะเข้าแข่งขันหรือแข่งอยู่แล้ว นกกลุ่มนี้ต้องการความพร้อมสูงในการเตรียมตัวเข้าแข่งขัน โดยเฉพาะต้องตากแดด เพื่อให้นกแข็งแรง ทดแดดทนร้อนได้ ปกติจะเริ่มตากประมาณ 09:00 - 13:00 โดยตากไว้ตลอด ไม่มีการยกเข้าพักในที่ร่ม ให้นกได้กระโดดและร้องไปเรื่อยๆ จนกว่าจะถึงเวลาเก็บ สถานที่ตากแดดก็เหมือนกัน คือ ต้องแข็งแรง ปลอดภัย และแต่ละตัวแขวนให้ห่างกันพอสมควร อย่าให้ใกล้กันเหมือนตอนแข่งหรือตอนซ้อม เพราะนกจะต่อสู้กันทุกวันจนเบื่อ หลังจากผ่านการตากแดดมาแล้ว เก็บเข้าที่ร่ม ไม่มืดทึบ มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก นกก็จะได้พักผ่อนส่วนตัว ไม่ต้องร้อง บางตัวก็จะร้องเล่นๆ เบาๆ เพื่อผ่อนคลายอิริยาบถจนถึงเวลาประมาณ 15:00 - 16:00 ก็ยกนกออกไปแขวนข้างนอก แล้วทำความสะอาดกรงนก โดยการเริ่มล้างถ้วยน้ำ ถ้วยอาหารให้สะอาด จากนั้นจัดการล้างซี่กรงด้านล่าง (ท้องกรง) โดยใช้น้ำฉีดให้ทั่ว ใช้ฟองน้ำหรือแปรงสีฟันขัดให้สะอาด และล้างถาดรองขี้นกให้สะอาดเช่นกัน แล้วหงายขันอาบน้ำ เติมน้ำให้เต็ม นำกรงนกขึ้นแขวนในที่ร่ม นกก็จะลงอาบน้ำเองอย่างสนุกสนาน เปียกทั่วตัว (กรณีที่นกบางตัวไม่ยอมอาบน้ำ ให้ใช้กระบอกฉีดน้ำปรับให้เป็นฝอย ฉีดให้ทั่วตัวบ่อยๆ นกก็จะลงอาบน้ำเอง) เมื่อนกอาบน้ำเสร็จและเริ่มแต่งตัว (โดยการใช้ปากไซ้ขนทั่วตัวเพื่อทำความสะอาดและให้ขนแห้ง) เราก็คว่ำขัน และยกกรงนกไปตากแดดอ่อนๆ เพื่อ - ทำให้ขนนกแห้ง เป็นการสร้างความสวยงามให้นก เพราะขนนกจะฟูสวยงาม และนกจะไม่คันในขณะทำการแข่งขัน - ทำให้กรงนกแห้ง เป็นการยืดอายุการใช้งานของกรงนกออกไปอีก เพราะเมื่อกรงเปียก ไม้ก็จะพอง ข้อต่อต่างๆ ก็จะหลวมและเผยอออก ซี่กรงก็อาจขึ้นราได้
วิธีการเลี้ยงนกกรงหัวจุก
เริ่มตั้งแต่เช้าตรู่ เมื่อเราตื่นนอนตอนเช้า อากาศสดชื่น เย็นสบาย นกก็สดชื่น เราทำการเปลี่ยนอาหารใหม่ ตามปกติจะประกอบด้วย กล้วยครึ่งผล มะละกอสุก 1 ชิ้น หรือแตงกวา 1 ซีก (สำหรับแตงกวาอาจมีความเสี่ยงอยู่บ้าง เพราะปัจจุบันมีการใช้สารเคมีฝังใต้ดิน เพื่อกำจัดหนอนแมลงกันมาก ยาก็จะดูดซึมเข้าไปอยู่ในผลแตงกวาด้วย เมื่อนกกินเข้าไป อาจทำให้นกตายได้ เรื่องนี้ ผู้เขียนเคยประสบมาแล้ว) หลังจากนั้นเอากรงนกไปแขวนในที่ที่เตรียมเอาไว้ อาจจะเป็นชายคาบ้านหรือกิ่งไม้ที่แข็งแรงพอ นกก็จะเริ่มส่งเสียงร้องออกมา ถ้าเป็นนกที่กำลังคึกคักก็จะร้องตลอดเวลา ไม่หยุด พร้อมทั้งออกลีลาเต็มที่ ต่อจากนั้นเมื่อถึงเวลาที่ผู้เลี้ยงต้องออกไปทำงาน ก็ให้เก็บนกไว้ในบ้านในที่ที่ปลอดภัยที่สุด (จากงูเขียว หนู ขโมย) ต้องเป็นที่ที่มีแสงสว่างพอสมควร อย่าให้มืดเกินไป สำหรับผู้ที่ประกอบธุรกิจส่วนตัวอยู่กับบ้าน มีเวลาเลี้ยงนกมาก ก็ให้จัดเตรียมสนามซ้อมหรือราวเอาไว้เพื่อให้นกได้ตากแดด เป็นการเสริมวิตามินดีจากธรรมชาติ และสร้างความสดชื่นให้กับนก วิธีการตากแดดมีอยู่ 2 รูปแบบ คือ 1. นกที่ยังไม่พร้อมจะเข้าแข่งขัน หมายถึง นกใหม่ที่เราที่เพิ่งได้มา ยังไม่คึกคักเท่าที่ควรหรือนกวัยรุ่นที่ยังไม่มีความพร้อม ให้ตากแดดปกติ ไม่ต้อมโหมหนักมากเกินไป เพราะธรรมชาติของนก เมื่อเจอแดดร้อนก็จะเข้าไปแอบในร่มไม้เพื่อพักผ่อน นกกลุ่มนี้ให้ตากแดดช่วงเช้าตรู่ จนถึงประมาณ 09:00 - 10:00 ก็พอเพียง เก็บเข้าที่ร่มให้ห่างกันพอสมควร เพราะนกบางตัวอาจเกิดอาการกลัวนกตัวอื่น จึงไม่กล้าร้อง 2. นกที่พร้อมจะเข้าแข่งขันหรือแข่งอยู่แล้ว นกกลุ่มนี้ต้องการความพร้อมสูงในการเตรียมตัวเข้าแข่งขัน โดยเฉพาะต้องตากแดด เพื่อให้นกแข็งแรง ทดแดดทนร้อนได้ ปกติจะเริ่มตากประมาณ 09:00 - 13:00 โดยตากไว้ตลอด ไม่มีการยกเข้าพักในที่ร่ม ให้นกได้กระโดดและร้องไปเรื่อยๆ จนกว่าจะถึงเวลาเก็บ สถานที่ตากแดดก็เหมือนกัน คือ ต้องแข็งแรง ปลอดภัย และแต่ละตัวแขวนให้ห่างกันพอสมควร อย่าให้ใกล้กันเหมือนตอนแข่งหรือตอนซ้อม เพราะนกจะต่อสู้กันทุกวันจนเบื่อ หลังจากผ่านการตากแดดมาแล้ว เก็บเข้าที่ร่ม ไม่มืดทึบ มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก นกก็จะได้พักผ่อนส่วนตัว ไม่ต้องร้อง บางตัวก็จะร้องเล่นๆ เบาๆ เพื่อผ่อนคลายอิริยาบถจนถึงเวลาประมาณ 15:00 - 16:00 ก็ยกนกออกไปแขวนข้างนอก แล้วทำความสะอาดกรงนก โดยการเริ่มล้างถ้วยน้ำ ถ้วยอาหารให้สะอาด จากนั้นจัดการล้างซี่กรงด้านล่าง (ท้องกรง) โดยใช้น้ำฉีดให้ทั่ว ใช้ฟองน้ำหรือแปรงสีฟันขัดให้สะอาด และล้างถาดรองขี้นกให้สะอาดเช่นกัน แล้วหงายขันอาบน้ำ เติมน้ำให้เต็ม นำกรงนกขึ้นแขวนในที่ร่ม นกก็จะลงอาบน้ำเองอย่างสนุกสนาน เปียกทั่วตัว (กรณีที่นกบางตัวไม่ยอมอาบน้ำ ให้ใช้กระบอกฉีดน้ำปรับให้เป็นฝอย ฉีดให้ทั่วตัวบ่อยๆ นกก็จะลงอาบน้ำเอง) เมื่อนกอาบน้ำเสร็จและเริ่มแต่งตัว (โดยการใช้ปากไซ้ขนทั่วตัวเพื่อทำความสะอาดและให้ขนแห้ง) เราก็คว่ำขัน และยกกรงนกไปตากแดดอ่อนๆ เพื่อ - ทำให้ขนนกแห้ง เป็นการสร้างความสวยงามให้นก เพราะขนนกจะฟูสวยงาม และนกจะไม่คันในขณะทำการแข่งขัน - ทำให้กรงนกแห้ง เป็นการยืดอายุการใช้งานของกรงนกออกไปอีก เพราะเมื่อกรงเปียก ไม้ก็จะพอง ข้อต่อต่างๆ ก็จะหลวมและเผยอออก ซี่กรงก็อาจขึ้นราได้
วิธีการเลี้ยงนกกรงหัวจุก
เริ่มตั้งแต่เช้าตรู่ เมื่อเราตื่นนอนตอนเช้า อากาศสดชื่น เย็นสบาย นกก็สดชื่น เราทำการเปลี่ยนอาหารใหม่ ตามปกติจะประกอบด้วย กล้วยครึ่งผล มะละกอสุก 1 ชิ้น หรือแตงกวา 1 ซีก (สำหรับแตงกวาอาจมีความเสี่ยงอยู่บ้าง เพราะปัจจุบันมีการใช้สารเคมีฝังใต้ดิน เพื่อกำจัดหนอนแมลงกันมาก ยาก็จะดูดซึมเข้าไปอยู่ในผลแตงกวาด้วย เมื่อนกกินเข้าไป อาจทำให้นกตายได้ เรื่องนี้ ผู้เขียนเคยประสบมาแล้ว) หลังจากนั้นเอากรงนกไปแขวนในที่ที่เตรียมเอาไว้ อาจจะเป็นชายคาบ้านหรือกิ่งไม้ที่แข็งแรงพอ นกก็จะเริ่มส่งเสียงร้องออกมา ถ้าเป็นนกที่กำลังคึกคักก็จะร้องตลอดเวลา ไม่หยุด พร้อมทั้งออกลีลาเต็มที่ ต่อจากนั้นเมื่อถึงเวลาที่ผู้เลี้ยงต้องออกไปทำงาน ก็ให้เก็บนกไว้ในบ้านในที่ที่ปลอดภัยที่สุด (จากงูเขียว หนู ขโมย) ต้องเป็นที่ที่มีแสงสว่างพอสมควร อย่าให้มืดเกินไป สำหรับผู้ที่ประกอบธุรกิจส่วนตัวอยู่กับบ้าน มีเวลาเลี้ยงนกมาก ก็ให้จัดเตรียมสนามซ้อมหรือราวเอาไว้เพื่อให้นกได้ตากแดด เป็นการเสริมวิตามินดีจากธรรมชาติ และสร้างความสดชื่นให้กับนก วิธีการตากแดดมีอยู่ 2 รูปแบบ คือ 1. นกที่ยังไม่พร้อมจะเข้าแข่งขัน หมายถึง นกใหม่ที่เราที่เพิ่งได้มา ยังไม่คึกคักเท่าที่ควรหรือนกวัยรุ่นที่ยังไม่มีความพร้อม ให้ตากแดดปกติ ไม่ต้อมโหมหนักมากเกินไป เพราะธรรมชาติของนก เมื่อเจอแดดร้อนก็จะเข้าไปแอบในร่มไม้เพื่อพักผ่อน นกกลุ่มนี้ให้ตากแดดช่วงเช้าตรู่ จนถึงประมาณ 09:00 - 10:00 ก็พอเพียง เก็บเข้าที่ร่มให้ห่างกันพอสมควร เพราะนกบางตัวอาจเกิดอาการกลัวนกตัวอื่น จึงไม่กล้าร้อง 2. นกที่พร้อมจะเข้าแข่งขันหรือแข่งอยู่แล้ว นกกลุ่มนี้ต้องการความพร้อมสูงในการเตรียมตัวเข้าแข่งขัน โดยเฉพาะต้องตากแดด เพื่อให้นกแข็งแรง ทดแดดทนร้อนได้ ปกติจะเริ่มตากประมาณ 09:00 - 13:00 โดยตากไว้ตลอด ไม่มีการยกเข้าพักในที่ร่ม ให้นกได้กระโดดและร้องไปเรื่อยๆ จนกว่าจะถึงเวลาเก็บ สถานที่ตากแดดก็เหมือนกัน คือ ต้องแข็งแรง ปลอดภัย และแต่ละตัวแขวนให้ห่างกันพอสมควร อย่าให้ใกล้กันเหมือนตอนแข่งหรือตอนซ้อม เพราะนกจะต่อสู้กันทุกวันจนเบื่อ หลังจากผ่านการตากแดดมาแล้ว เก็บเข้าที่ร่ม ไม่มืดทึบ มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก นกก็จะได้พักผ่อนส่วนตัว ไม่ต้องร้อง บางตัวก็จะร้องเล่นๆ เบาๆ เพื่อผ่อนคลายอิริยาบถจนถึงเวลาประมาณ 15:00 - 16:00 ก็ยกนกออกไปแขวนข้างนอก แล้วทำความสะอาดกรงนก โดยการเริ่มล้างถ้วยน้ำ ถ้วยอาหารให้สะอาด จากนั้นจัดการล้างซี่กรงด้านล่าง (ท้องกรง) โดยใช้น้ำฉีดให้ทั่ว ใช้ฟองน้ำหรือแปรงสีฟันขัดให้สะอาด และล้างถาดรองขี้นกให้สะอาดเช่นกัน แล้วหงายขันอาบน้ำ เติมน้ำให้เต็ม นำกรงนกขึ้นแขวนในที่ร่ม นกก็จะลงอาบน้ำเองอย่างสนุกสนาน เปียกทั่วตัว (กรณีที่นกบางตัวไม่ยอมอาบน้ำ ให้ใช้กระบอกฉีดน้ำปรับให้เป็นฝอย ฉีดให้ทั่วตัวบ่อยๆ นกก็จะลงอาบน้ำเอง) เมื่อนกอาบน้ำเสร็จและเริ่มแต่งตัว (โดยการใช้ปากไซ้ขนทั่วตัวเพื่อทำความสะอาดและให้ขนแห้ง) เราก็คว่ำขัน และยกกรงนกไปตากแดดอ่อนๆ เพื่อ - ทำให้ขนนกแห้ง เป็นการสร้างความสวยงามให้นก เพราะขนนกจะฟูสวยงาม และนกจะไม่คันในขณะทำการแข่งขัน - ทำให้กรงนกแห้ง เป็นการยืดอายุการใช้งานของกรงนกออกไปอีก เพราะเมื่อกรงเปียก ไม้ก็จะพอง ข้อต่อต่างๆ ก็จะหลวมและเผยอออก ซี่กรงก็อาจขึ้นราได้